Follow prapat1909 on Twitter

วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ประวัติ

รศ. ดร. ประภัสสร์  เทพชาตรี

1.      การศึกษา
·      ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา  : โรงเรียนอัสสัมชัญ  (บางรัก)
·      ปริญญาตรี : รัฐศาสตร์บัณฑิต  สาขาการระหว่างประเทศ 
คณะรัฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      ปริญญาโท : M.A.  in  Political  Science  ( International  Relations)
               Ohio University,  U.S.A.
·      ปริญญาเอก  : Ph.D.  in  Political  Science ( International  Relations)  University  of  Georgia,  U.S.A.

2.     ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน           
·      ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      รองศาสตราจารย์  ระดับ 9 ประจำคณะรัฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      นายสมาคมอเมริกาศึกษาในประเทศไทย
·      สมาชิก กลุ่มด้านยุทธศาสตร์ คลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม
·      กรรมการ คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      อนุกรรมการด้านบุคลากร ภายใต้คณะกรรมการประชาคมอาเซียน สำนักงานเลขาธิการผู้แทนราษฎร

3. ประวัติการทำงานในอดีต 
·      ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์   
·      รองคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา  คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      กรรมการ คณะกรรมการบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      กรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ                    
80 พรรษา กองทัพไทย
·      กรรมการ คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์รัฐศาสตร์ราชบัณฑิตยสถาน
·      ที่ปรึกษา คณะกรรมการความร่วมมือด้านวิชาการเอเชียตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ
·      ผู้อำนวยการ ศูนย์ศึกษานโยบายระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
·      กรรมการ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
·      เจ้าหน้าที่การทูต 7 กรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ
·      กงสุล  สถานกงสุลใหญ่  ณ  นครโอซากา  ประเทศญี่ปุ่น
·      เลขานุการโท  กรมอาเซียน  กระทรวงการต่างประเทศ
·      เลขานุการตรี  กรมเศรษฐกิจ  กระทรวงการต่างประเทศ
   
4. งานเขียน
·      2556
-     สู่การจัดตั้งประชาคมอาเซียนใน วิเทศคดี วิเทโศบาย รวมบทความด้านการระหว่างประเทศในโอกาสเกษียณอายุราชการ รองศาตราจารย์ ดร.โคริน เฟื่องเกษม. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์ , 2556  : 100128.
·      2555
- สถานการณ์โลกปี 2011-2012. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม , 2555.
- ไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : มิสเตอร์ก๊อปปี้ , 2555.
·      2554
-     ความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. (โครงการจัดพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลำดับที่ 1)
-     ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม , 2554.
- ยุทธศาสตร์สหรัฐฯต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม,2554.
- สถานการณ์โลกปี 2553 และแนวโน้มปี 2554. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม ,2554.
·      2553
“A Thai Perspective : Regionalism An Asian Conversation ” The Asialink Essay Vol.2 No.4 (2010) P.11-13.
- ประชาคมเอเชียตะวันออก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม , 2553.
·      2552     
ไทยกับการเป็นประธานอาเซียน.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม (บรรณาธิการ)
-   การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมธรรม,(หนังสือวิชาการลำดับที่ 5โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)    (บรรณาธิการ)
-     ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม, (หนังสือวิชาการลำดับที่ 4โครงการอาเซียนศึกษมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) (บรรณาธิการ)
- “The Rise of China and India and Its Implications for Southeast Asia : A Thai
          Perspective”  The Rise of China and India : A New Asian Drama, in Lam Peng Er         and Lim Tai Wei (ed.), published by World Scientific Publishing Co.Pte.Ltd. (2009)
- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม, (หนังสือวิชาการ                 ลำดับที่ 2โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) (บรรณาธิการ)
- สู่ประชาคมอาเซียน 2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (หนังสือชาการลำดับที่ 1 โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) (บรรณาธิการ)
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม, (หนังสือวิชาการลำดับที่ 2โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) (บรรณาธิการ)
·      2550
- การก่อการร้ายสากล. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, บริษัท งานดีครีเอชั่น จำกัด , 2550.
·      2549
               - “ASEAN-Japan Cooperation: Towards an East Asian Community” in Siriporn
                 Wajjwalku (ed.),  Japan-ASEAN Beyond Economic Partnership: Toward an  East
                 Asian Community? Bangkok, Borpitt Printing, 2006.     
               - หน่วยที่ 4 เศรษฐกิจการเมืองโลกยุคหลังสงครามเย็น เอกสารการสอนชุดกระแส
                  โลกศึกษา หน่วยที่ 1-7 นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช                             2548.  น้า 4-1 ถึง 4-56.             
·      2548                    
               - หน่วยที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น เอกสารการสอนชุดความสัมพันธ์
                   ระหว่างไทยกับต่างประเทศ หน่วยที่ 6-10  นนทบุรี:  
                    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548. หน้า 9-1 ถึง 9-55.
·      2546     
               - วิสัยทัศน์นโยบายต่างประเทศในสหัสวรรษใหม่ อุโฆษสาร 2000 สังคมไทยจาก
     พุทธศตวรรษที่ 25 สู่คริสตศตวรรษที่ 21 เล่ม 2กรุงเทพฯ: สมาคมอัสสัมชัญ 2546.             

·      2545     
               - สถานการณ์โลกปี  2545  ผลกระทบต่อไทย  กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
  ธรรมศาสตร์  2545  (บรรณาธิการ)
               -วิสัยทัศน์นโยบายต่างประเทศไทยในสหัสวรรษใหม่ สราญรมย์ ปี 29 (2545)
·      2544   
- รวมงานเขียนและปาฐกถา  เรื่อง  การต่างประเทศของไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน  กรุงเทพฯธาราฉัตรการพิมพ์  2544.
-โครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นใน นครินทร์  
              เมฆไตรรัตน์ และคณะบรรณาธิการ  นรนิติ  เศรษฐบุตร :  60  ปี  กีรตยาจารย์                          เล่มหนึ่ง  กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  2544  .41 – 64
               - บทบาทของสหประชาชาติในสหัสวรรษใหม่  กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  2544.
·      2543
- นโยบายต่างประเทศของไทย  จากวิกฤตเศรษฐกิจสู่สหัสวรรษใหม่กรุงเทพฯ
  โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2543.
·      2542    
- “Thailand’s  Foreign  Policy  in  The  Era  of  Economic  Crisis.” MIR  Newsletter  
            Vol. No.3  (January – March  1999)  : 3 – 4
·      2529
- “Political  Economy  of  Global  Trade  Problems :  The  Regime Perspective.”  
          วารสารสราญรมย์ (2529) : 52-60

5.     สถานที่ปฏิบัติงาน                   ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ห้อง 115 อาคารโดมบริหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
                                                            โทร. : 02-564-4444-79 ต่อ 1552
                                                            โทรสาร : 02-564-4444-79 ต่อ 1555
                                                            E-mail   : prapat@tu.ac.th
-----------------------------------------------------


18 กันยายน 2557

ไม่มีความคิดเห็น: