ผลงานวิชาการ
· พ.ศ. 2551
- “ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออก: ยุครัฐบาล Bush”
กระแสอาคเนย์ 5(53) พฤษภาคม 2551. หน้า 8-23.
- “แนวโน้มสถานการณ์โลกปี 2551” กระแสอาคเนย์ 5(50) กุมภาพันธ์ 2551.
หน้า 8-21.
· พ.ศ. 2550
- การก่อการร้ายสากล. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, บริษัท งานดีครี
เอชั่น จำกัด , 2550.
- “ความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ: อดีต ปัจจุบันและอนาคต” รายงานการวิจัย
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พฤศจิกายน 2550
- “การก่อการร้าย” เอกสารวิชาการ เสนอในการประชุมรัฐศาสตร์และรัฐ
ประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 8 (2550) วันที่ 13-14 ธันวาคม 2550
ณ ศูนย์การค้าและนิทรรศการนานาชาติ (BITEC) บางนา กรุงเทพฯ
- “ท่าทีของประเทศต่าง ๆ ต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก” กระแส
อาคเนย์ พฤศจิกายน 2550. หน้า
- “ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างไทยกับญี่ปุ่น” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 28
ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2550 หน้า 42-76.
- “ความล้มเหลวของการประชุมสุดยอดอาเซียนที่สิงค์โปร์” กระแสอาคเนย์
4(48) ธันวาคม 2550. หน้า 23-33.
- “ประชาคมเอเชียตะวันออก: ข้อเสนอการทำ road map” รายงานการวิจัย
สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กันยายน 2550
- “แนวโน้มสถานการณ์โลกและข้อเสนอนโยบายต่างประเทศของไทยในปี
2550 ” กระแสอาคเนย์ 4(38) กุมภาพันธ์ 2550. หน้า 18-29.
- การก่อการร้ายสากล รายงานการวิจัย สถาบันพระปกเกล้า มีนาคม 2550
- “โลกในยุคหลัง – หลังสงครามเย็น” รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 28 ฉบับที่ 2
(พฤษภาคม – สิงหาคม 2550) น. 279-322.
- “ข้อเสนอท่าทีและบทบาทของไทยในอาเซียน ” กระแสอาคเนย์ 4(40)
เมษายน 2550. หน้า 8-18.
- “ข้อเสนอวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของไทย” รัฏฐาภิรักษ์
ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2549 น.103-107.
· พ.ศ. 2549
- “ข้อเสนอวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของไทย” รัฏฐาภิรักษ์ ปีที่ 48 ฉบับที่ 4 ต.ค. – ธ.ค. 2549 หน้า 103-107.
- “การเจรจา FTA ไทย-สหรัฐฯ: ผลดี ผลเสีย และยุทธศาสตร์การเจรจา”
รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ. 2549. หน้า 105-115.
- “ASEAN-Japan Cooperation: Towards an East Asian Community”
in Siriporn Wajjwalku (ed.), Japan-ASEAN Beyond Economic
Partnership: Toward an East Asian Community? Bangkok,
Borpitt Printing, 2006.
- “ผลประโยชน์ของรัฐกับการรวมกลุ่มส่วนภูมิภาค”
เอกสารวิชาการ เสนอในการประชุมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่ง
ประเทศไทยครั้งที่ 7 (2549) วันที่ 27-29 พฤศจิกายน 2549 ณ มหาวิทยาลัย
รามคำแหง
- “ความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคสงครามต่อต้านการก่อการร้าย”
กระแสอาคเนย์ 3(36) ธันวาคม 2549. หน้า 42-49.
- หน่วยที่ 4 “เศรษฐกิจการเมืองโลกยุคหลังสงครามเย็น” เอกสารการสอน
ชุดกระแสโลกศึกษา หน่วยที่ 1-7 นนทบุรี: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548. หน้า 4-1 ถึง 4-56.
- “ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
กระแสอาคเนย์ 3(29) พฤษภาคม 2549: 25-31.
- “ASEAN – Japan Cooperations: Towards an East Asian Community “
ญี่ปุ่นศึกษา ฉบับที่ 2/2006: 201-218.
- “การเจรจา FTA ไทย-สหรัฐฯ: ผลดี ผลเสีย และยุทธศาสตร์การเจรจา”
กระแสอาคเนย์ 3(32) สิงหาคม 2549: 14-21.
- “โลกในยุคหลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ และปัญหาการก่อการร้ายสากล”
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 น. 206-234.
· พ.ศ. 2548
- “ไทยกับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก” ญี่ปุ่นศึกษา ฉบับที่ 2/2548
หน้า 1-22.
- “Asean-Japan Cooperation: Towards an East Asian Community” A
paper presented at International Conference on Japan-Asean Beyond the
Economic Partnership: Toward an East Asian Community?, 30 September
2005, Wanwaitayakorn Meeting Hall, Thammasat University
- “สู่ประชาคมเอเชียตะวันออก” กระแสอาคเนย์ 2(17) พฤษภาคม 2548:
10- 27.
- “ปัญหาท้าทายอาเซียนในปัจจุบัน” กระแสอาคเนย์ 2(20) สิงหาคม
2548: 6-12.
- หน่วยที่ 9 “ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น” เอกสารการสอนชุด
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศ หน่วยที่ 6-10 นนทบุรี:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548. หน้า 9-1 ถึง 9-55.
- โลกในยุคหลัง-หลังสงครามเย็น ผลงานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2548.
- “โลกในยุคหลัง-หลังสงครามเย็น: บทบาทของประชาคมโลก”
เอกสารวิชาการ เสนอในการประชุมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่ง
ประเทศไทยครั้งที่ 6 (2548) วันที่ 7-8 ธันวาคม 2548 ณ โรงแรมโลตัสปาง
สวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
- ความสัมพันธ์และนโยบายต่างประเทศของไทย กรุงเทพฯ: งานบริการเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
· พ.ศ. 2547 :
- “ไทยกับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก” ใน นิทัศน์รัฐศาสตร์ 2547
เอกสารทาง วิชาการประจำปี สมาคมรัฐศาสตร์แห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชุมพล เลิศรัฐการ, บรรณาธิการ. หน้า 60-72.
- นโยบายต่างประเทศด้านความมั่นคงของสหรัฐอเมริกาต่อเอเชีย: ช่วงหลัง
สงครามเย็นถึงปัจจุบัน. โครงการวิจัยเสริมหลักสูตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2547.
- “Towards an East Asian Community”. A paper presented at the 2nd Annual
Conference of the Network of East Asian Think-Tanks, August 16-17, 2004,
Inter Continental Hotel, Bangkok, Thailand.
- “โลกในยุคหลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ และปัญหาการก่อการร้ายสากล”.
เอกสารวิชาการ เสนอในการประชุมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่ง
ประเทศไทยครั้งที่ 5 (2547) วันที่ 1-2 ธันวาคม 2547 ณ ศูนย์การค้าและ
นิทรรศการนานาชาติ (BITEC) บางนา กรุงเทพฯ
· พ.ศ. 2546
- กลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก ผลงานวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- “ไทยกับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก”. เอกสารวิชาการเสนอใน
การประชุมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 4 (2546)
วันที่ 1-2 ธันวาคม 2546 ณ ศูนย์การค้าและนิทรรศการนานาชาติ (BITEC)
บางนา กรุงเทพฯ
- “การประชุมเอเปค 2003ที่ประเทศไทย” สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 47
กรกฎาคม 2545-มิถุนายน 2546 :157-160.
- นโยบายต่างประเทศของไทยในสหัสวรรษใหม่ ผลงานวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- “วิสัยทัศน์นโยบายต่างประเทศในสหัสวรรษใหม่” อุโฆษสาร 2000
สังคมไทยพุทธศตวรรษที่ 25 สู่คริสตศตวรรษที่ 21 เล่ม 2 กรุงเทพฯ:
สมาคมอัสสัมชัญ 2546.
· พ.ศ. 2545
- อาเซียนในศตวรรษที่ 21 ผลงานวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- สถานการณ์โลกปี 2545 ผลกระทบต่อไทย กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2545. (บรรณาธิการ)
- ความมั่นคงระหว่างประเทศ กรุงเทพฯ: งานบริการเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ กรุงเทพฯ: งานบริการเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- “ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ : สำนักสัจจนิยม” เอกสารวิชาการ เสนอในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ 2545 สภาวิจัยแห่งชาติ และสมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย
- “วิสัยทัศน์นโยบายต่างประเทศไทยในสหัสวรรษใหม่” สราญรมย์ ปีที่ 29 (2545)
· พ.ศ. 2544
- “โครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น” ใน นครินทร์
เมฆไตรรัตน์ และคณะบรรณาธิการ นรนิติ เศรษฐบุตร : 60 ปี กีรตยาจารย์ เล่มหนึ่ง กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2544 : 41 – 64.
- “ ความสัมพันธ์ไทย – ญี่ปุ่น ในยุควิกฤตเศรษฐกิจ” รัฐศาสตร์สาร ฉบับที่ 22/3 : 101-142.
- รวมงานเขียนและปาฐกถา เรื่อง การต่างประเทศของไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน กรุงเทพฯ: ธาราฉัตรการพิมพ์ 2544. (บรรณาธิการร่วม)
- บทบาทของสหประชาชาติในสหัสวรรษใหม่ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2544. (บรรณาธิการ)
· พ.ศ. 2543
- นโยบายต่างประเทศของไทย : จากวิกฤตเศรษฐกิจสู่สหัสวรรษใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
- “โลกานโยบายศาสตร์ กระบวนทัศน์ใหม่ของการศึกษานโยบายระหว่างประเทศ” เอกสารวิชาการเสนอในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ 2543 สภาวิจัยแห่งชาติ และสมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย
· พ.ศ. 2542
- ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างไทยกับญี่ปุ่น. ผลงานวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก โครงการวิจัยเสริมหลักสูตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542.
- “Thailand’s Foreign Policy in The Era of Economic Crisis.”
MIR Newsletter Vol. No.3 (January – March 1999) : 3 – 4.
· พ.ศ. 2531
- Intra - Asean Trade Cooperation : A “Policy Analysis’ Approach.
(Research Assistance Program for ASEAN Scholars in International Affairs (RAPAS) : Japan Institute of International Affairs)
· พ.ศ. 2529
- “Political Economy of Global Trade Problems : The Regime Perspective.” สราญรมย์ (2529) : 52-60.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น